ข้อมูลข่าวสาร

 
 ตารางที่ 1   แสดงระดับความเสียหายที่เกิดจากไฟฟ้าสถิต
                                                    รายงานความเสียหายที่เกิดจากไฟฟ้าสถิต
             ชนิด   อัตราความเสียหายขั้นต่ำ    อัตราความเสียหายขั้นสูง  อัตราความเสียหายเฉลี่ย
  ส่วนประกอบ จากโรงงาน                 4%                 97%               16-22%
  ผู้ค้ารายย่อย                 3%                 70%                 9-15%
  ตัวแทนจำหน่าย                 2%                 35%                 8-14%
  ผู้ใช้                 5%                 70%               27-33%
  แหล่งข้อมูล : Stephen Halpien“ Guidelines for Static Control Management” Eumstat,1990
 
ตารางที่ 2  แสดงการเกิดของไฟฟ้าสถิต (โวลต์)
                การเกิดของไฟฟ้าสถิตโดยเฉลี่ย           10-25% RH           65-90% RH
  การเดินบนพรม              35,000V              1,500V
  การเดินบนกระเบื้องปูพื้น              12,000V                 250V
  การทำงานบนโต๊ะทำงาน                6,000V                 100V
  การย้ายของจากโต๊ะทำงานไปยังถุงบรรจุ              20,000V              1,200V
  การสัมผัสระหว่างเก้าอี้และโฟมยูลิเทน              18,000V              1,500V
 
        บทความแรกในหกบทความของเรื่อง ESD นี้จะเน้นไปที่ สาเหตุการเกิดการประทุของไฟฟ้าสถิต วัสดุต่างๆ
ได้รับผลกระทบจากระดับของประจุต่างๆ ต่างกันอย่างไรบ้าง รูปแบบของความเสียหายจากไฟฟ้าสถิตแบบต่างๆ
และ การประทุของไฟฟ้าสถิต หรือเรียกสั้นๆง่ายๆว่า ESD หรือเหตุการณ์ ESD ทำลายอุปกรณ์หรือชิ้นส่วน
อิเล็กทรอนิกส์ได้อย่างไร บทอื่นๆหลังจากนี้จะกล่าวถึงวิธีการต่างๆในการควบคุมหรือป้องกันปัญหาไฟฟ้าสถิต
 
  << 1 2 3 4 5 6 7 >>
Customer Ref.